วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

*ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

-รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
-พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารเสนเทศ
- การประยุกต์ใข้่เทคโนดฯลีสารสนเทศกับการเรียนการสอน

รูปแบบเทคเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน

เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ คือ

1. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ , กล้องดิจิตอล ,           กล้องถ่ายภาพวีดีทัศน์, เครื่องเอ็กซ์เร

2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึกต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก,จานแม่เหล็ก,จานแสงหรอจานเลเซอร์,บัตรATM

3.เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผล ได้แก่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์

4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์,จอภาพ,พลอดเตอร์

5.เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสวำเนาเอกสาร เช่นเครื่องถ่านเอกสาร,เครื่องถ่ายไมโคฟิล์ม

6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น โทรทัศน์,วิทยุกระจายเสียง,โทรเลข,เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระบบไกล้และระยะไกล

ตัวอย่าง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในทางธุรกิจ และทางการศึกษา ดังตัวอย่างเช่น
-ระบบเอทีเอ็ม
-การบริการและการทำธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ต
-การลงทะเบียนเรียน

พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร

     การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท ที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้างและเผ่ยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพ ข้อความ หรืออักษร ตัวเลขและภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น

การใช้อินเตอร์เน็ต
       งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาพบว่า
  นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในขณะที่ใช้อินเตอรืเน็ตของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อการเรียนรู้การติดตามข่าวสารของสถานศึกษา

ใช้อินเตอร์เน็ต ทำอะไรได้บ้าง ?
    งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษาใช้อินเตอร์ในการสนทนากับเพื่อนๆ และการค้นข้อมูลจากห้องสมุด นิกจากนี้งานวิจัยยังชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประการทำรายงาน

สถานที่ที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
    งานวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเตอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน

นักศึกาาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อย ในรูปแบบไหนบ้าง?
    งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้น้อยมาก ได้แก่ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรูปแบบออนไลน์หรือ e-learning วิดีทัศน์ตามอัธยาศัย(Video on Demand) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

* การเรียนรูแบบออนไลน์ (e-Learning)
*บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction - CAI)
*วิดีทัศน์ตามอัธยาศัย(Video on Demand - VDO)
*หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-Books)
*ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์(e-Learning)

-การเรียนรู้แบบออนไลน์(e-Learning)
     ป็นการศีกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ( Internet ) หรือ อินทราเน็ต ( Intranet ) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเองตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดืโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรืยนผ่านเว็บบราวเซอร์ ( Web Browser ) โดยผู้เรียนผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติโดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารมี่ทันสมัยสำหรับทุกคน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ ( Learning for all : anyone , anywhere and anytime )

-บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Intruction - CAI ) 
   คือบทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่นำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจรณามาเป็นอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นำเสนอจะอยู่ในรูปมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง หรือ ทั้งภาพทั้งเสียง ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการนำหลักการเบื้องต้นทางจิตวิทยาการเรียนรู้มาใช้ในการออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน คื่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่งนำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่าน กระบวนการสร้างและพิจารณามาเปแ็ยอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นำเสนอจะอยู่ในรูปมัลตืมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง และ/ทั้ง ภาพและเสียง ซึ่งมีพื้นฐานมารจาก การนำหลักการเบื้องต้น ทางจืตวิทยาการเรียนรู้มาใช้ในการออกแบบ
โดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้(Learning Behavior) ทฤษฎี การเสริมแรง (Reinforcemment Theory) ทฤษฎีการวางเงือนไขปฎิบัติ (Operant Conditioning Theory) ซึ่งถือว่าความสัมพันธืระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองแลบะการเสริมแรงเป็นสิ่งสำคัญ โดยมีจุดมุ่งหมายนำผู้เรียน ไปสู่การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาศัยการเรียนที่มีการวางโปรแกรมไว้ล่วงหน้า เป็นการให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และมีผลย้อนกลับทันที และเรียนรู้ไปทีละขั้นตอนอย่างเหม่าะสมตามความต้องการและความสามารถของตนเอง

- วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Vioeo on Demand - VDO)
      คือ ระบบการเรียกดู ภาพยนต์ตามสั่งที่จะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูภาพยนต์หรือข้อมูลภาพเคลือนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ ตามสโลแกนที่ว่า "To view what one wants,when one wants" โดยสามารถใช้งานนี้ได้จากเครื่ีอข่ายสื่อสาร ผู้ใช้งาน ซึ่งอยู่หน้าเครื่องลูกข่าย สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลือนไหว ได้ทุกเมื่อตามต้องการและสามารถควบคุมข้อมูลวีดีโอนั้นๆ โดยสามารถย้อนกลับ(Rewind) หรือรอไปข้างหน้า(Forward)หนือหยุดชั่วคราว(Pause)ได้เปรียบเสมือนการดูวีดีดอที่บ้านนั่นเอง ทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายไม่จำเป็นต้ัองดูข้อมูลดียวกัน กล่าว คือสามารถดูภาพยนตร์เรื่องเดียวกัน หรือต่างกันก็ได้

-หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-Books)
    คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป้ในการอ่านหนังสือประเภทนี้คือ ฮาร์ดแรว์ ประเภทเรืองคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น อออร์แกไนเซอร์แบบพกพา พีดีเอ เป็นต้น
   ส่วนการถึงข้อมูล e-books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะวิธีการดาวน์โหลดผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะไฟล์ของ e-books หากนักเขียนหรือสำนักพิมพ์ต้องการสร้าง e-books จะสามารถเลือกได้สี่รูปแบบ คือ Hyper Text Markup Language (HTML) ,Portable Document Format (PDF),Peanut Markup Language (PML)และ Extensive Markup Language (XML)

ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
   เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน เครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต

คุณลักษณะทึี่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอกนิกส์มีดังนี้  คือ
   1. การจัดการทรัพยกรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
   2. ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยทางอิเล็กทรอนิกส์
   3. บรรณารักษ์หรือบุคคลากรของห้องสมุดและสามารถแทรกการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับห้องสมุดได้เพื่อ ช่วยเหลือผู้ใช้ได้ โดยทางอิเล็กทรอนิดส์
   4. ความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวมและนำส่งสารสนเทศ สู่ผู้ใช้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น